O9 คู่มือการให้บริการประชาชน

คู่มือการให้บริการประชาชน

พันธะสัญญาของสายงานภายในสถานีตำรวจภูธรท่าพระ

งานอำนวยการ

งานจราจร

งานป้องกันปราบปราม

งานสอบสวน

งานสืบสวน

คู่มือการให้บริการประชาชน งานอำนวยการ

ประเภทของงาน ขั้นตอนการปฏิบัติ พันธะสัญญา ภายใต้กรอบ
1. การขอตรวจสอบ ประวัติสมัครงานหรือ  เข้าศึกษาต่อ1. พบเจ้าหน้าที่ธุรการเพื่อพิมพ์ ลายนิ้วมือ และกรอกข้อความใน เอกสาร 2. ส่งเรื่องไปตรวจสอบที่กอง ทะเบียนประวัติ อาชญากร 3. แจ้งผลการตรวจสอบประวัติภายใน 15 วัน ประชาชนสามารถถือเอกสาร ไปตรวจสอบพร้อมขอรับผลที่ กองทะเบียนประวัติอาชญากร ด้วยตนเองได้ หรือส่งทาง ไปรษณีย์ด่วนก็ได้
2. การขออนุญาตเล่นงิ้ว 1. พบเจ้าหน้าที่ธุรการเพื่อตรวจสอบ หลักฐานเกี่ยวกับการแสดงงิ้ว 2. ส่งบทการแสดงไปตรวจสอบที่ สันติบาล 3. รับผลการตรวจบทแปลจาก สันติบาล 4. แจ้งผลการพิจารณาภายใน 15 วัน
3. การขอต่ออายุใบส าคัญ ประจ าตัวคน  ต่างด้าว 1. พบเจ้าหน้าที่ยื่นค าร้อง 2. ช าระเงินค่าธรรมเนียม 3. ลงรายการต่ออายุในใบส าคัญ 4. ออกใบเสร็จรับเงิน 5. นายทะเบียนลงนามภายใน 20 นาที
4. แจ้งย้ายภูมิล าเนาคน ต่างด้าว  ( ทั้งกรณีย้าย เข้าและย้ายออก )1.น าใบส าคัญคนต่างด้าวและส าเนา ทะเบียน บ้านไปพบเจ้าหน้าที่ธุรการ 2. เขียนค าร้อง 3.เจ้าหน้าที่ธุรการลงนามรายงานใน ใบส าคัญ 4.นายทะเบียนลงนาม 5.กรณีย้ายเข้าให้ทาบันทึกขอรับ เอกสารต้น เรื่องของคนต่างด้าว จากสถานีต ารวจเดิมภายใน 20 นาที
5. ขอปิดรูปถ่ายคนต่าง ด้าว เมื่อครบ ระยะ 5ปี1. พบเจ้าหน้าที่ธุรการพร้อม ภาพถ่ายขนาด2 นิ้ว จานวน 4 รูป 2. เขียนคาร้อง 3. เจ้าหน้าที่ประทับตรา 4. นายทะเบียนลงนามภายใน 20 นาที
6. การแจ้งตายของคนต่างด้าว 1. น าใบส าคัญประจ าตัวคนต่างด้าว และใบ มรณะบัตรพบเจ้าหน้าที่ ธุรการ 2. หมายเหตุในเอกสารต้นเรื่องใน ใบส าคัญ ประจ าตัวคนต่างด้าว 3. นายทะเบียนลงนาม 4. ส่งเรื่องไปยังส านักงานตรวจคน เข้าเมืองภายใน 20 นาที หน่วยรับผิดชอบของ ส านักงานตรวจคนเข้าเมือง  คือ งาน 4 กก.1 ตม.1สตม.
ประเภทของงาน ขั้นตอนการปฏิบัติ พันธะสัญญา ภายใต้กรอบ
7. การขอรับใบแทน ใบส าคัญประจ าตัว คนต่างด้าวที่ชารุด หรือ สูญหาย1. น าหลักฐานใบแจ้งความสูญหาย หรือช ารุด พร้อมภาพถ่ายและส าเนา ทะเบียนบ้านพบ เจ้าหน้าที่ธุรการ เพื่อยื่นค าร้องและช าระ  ค่าธรรมเนียม 2. เจ้าหน้าที่ธุรการออกใบเสร็จตาม ระเบียบ สอบปากคา ตรวจเอกสาร และออกเล่ม ใบส าคัญ 3. นายทะเบียนลงนามภายใน 1 ชั่วโมง
8. ขอรับใบส าคัญประจ าตัว  คนต่างด้าวใหม่ (ภายใน 7 วัน)1. พบเจ้าหน้าที่ธุรการพร้อม ใบส าคัญถิ่นที่อยู่และหนังสือแจ้ง นายทะเบียนท้องที่จากส านักงาน ตรวจคนเข้าเมืองแล้วยื่นค าร้อง ช าระค่าธรรมเนียม 2. ตรวจสอบหลักฐานและยืนยัน ความถูกต้องจากส านักงานตรวจ คนเข้าเมือง 3. ช าระค่าธรรมเนียมตามระเบียบ 4. เจ้าหน้าที่ออกเล่มใหม่ให้นาย ทะเบียนลงนามภายใน 2 ชั่วโมง หน่วยรับผิดชอบของ ส านักงานตรวจคนเข้า เมือง คือ งาน 4 กก.1 ตม.1 สตม.
9. ขอรับใบส าคัญประจ าตัว คนต่างด้าวใหม่ (เกินก าหนด 7 วัน)1. พบเจ้าหน้าที่ธุรการพร้อม ใบส าคัญฯ 2. ตรวจสอบหลักฐานและยืนยัน ความถูกต้องจากส านักงานตรวจ คนเข้าเมือง 3. ช าระค่าธรรมเนียมตามระเบียบ 4. เจ้าหน้าที่ออกเล่มใหม่ 5. นายทะเบียนลงนาม 6. ส่งปลายขั้วไปส านักงานตรวจคน เข้าเมืองภายใน 2 ชั่วโมง 1. หน่วยรับผิดชอบของ ส านักงานตรวจคนเข้าเมือง  คือ งาน 4 กก.1 ตม.สตม.  2. ถ้าคนต่างด้าวเป็นผู้เยาว์ (อายุไม่เกิน 12ปี) ต้องเพิ่ม ขั้นตอนการพิมพ์ลายนิ้วมอื และสอบปากค าผู้ปกครอง พร้อมตรวจสอบหลักฐาน ยืนยันความถูกต้องจาก ส านักงานตรวจคนเข้าเมือง ก่อน
10. การรับใบแทนใบส าคัญประจ าตัวคน ต่างด้าวที่ช ารุดหรือสูญหาย1. น าหลักฐานใบแจ้งความสูญหาย  หรือช ารุดพร้อมถ่ายภาพ และส าเนา ทะเบียนบ้าน พบเจ้าหน้าที่ธุรการ  เพื่อยื่นค าร้องและช าระ ค่าธรรมเนียม ตามระเบียบ 2. เจ้าหน้าที่ธุรการออกใบเสร็จ  สอบปากค า ตรวจสอบเอกสาร และ ออกเล่มใบส าคัญ 3. นายทะเบียนลงนามภายใน 1 ชั่วโมง

คู่มือการให้บริการประชาชน งานจราจร

ประเภทของงาน ขั้นตอนการปฏิบัติ พันธะสัญญา ภายใต้กรอบ
1. การจัดก าลังต ารวจควบคุมและ จัดการจราจรประจ าทางแยกหรือจุด ที่มีปัญหา การจราจร เช่น ทางแยก ส าคัญ หน้าศูนย์การค้า หน้า สถานศึกษา ย่านชุมชน– มีการจัดเจ้าหน้าที่ต ารวจจราจรประจ า แยกส าคัญและจุดส าคัญ เช่น หน้า ศูนย์การค้า สถานศึกษา ย่านชุมชน – ช่วงเวลาที่มีเจ้าหน้าที่ต ารวจจราจรอยู่ ประจ าจุด– ก าลังประจ าทางแยกส าคัญแยกละอย่าง น้อย 2 นาย – จุดส าคัญจุดละอย่างน้อย 2 นาย – ช่วงเวลาที่เจ้าหน้าที่ต ารวจปฏิบัติหน้าที่  ตั้งแต่ 05.30-20.00 น.
2. จัดก าลังต ารวจไว้อ านวยความ สะดวกด้านการจราจร1. จัดสายตรวจไว้อ านวยความสะดวกด้าน  การจราจร 2. กรณีได้รับแจ้งเหตุอุบัติ/รถเสีย/การขอ ความช่วยเหลือ 3. การแก้ไขปัญหาการจราจรกรณีเร่งด่วน เฉพาะหน้าที่ประชาชนร้องขอให้ด าเนินการ  และต้องปฏิบัติทันที 4. การจัดสายตรวจจราจรไว้อ านวยความ สะดวกการจราจร– ช่วงเวลาที่จัดสายตรวจตลอด 24 ชั่วโมง หรือช่วงเวลาใด – สายตรวจจราจรเดินทางไปถึงที่เกิดเหตุ ภายใน 5 นาทีระยะเวลาในการ เดินทางไปถึงที่ เกิดเหตุนับแต่ผู้ แจ้งๆหรือโทรศัพท์แจ้งเจ้าหน้าที่ ต ารวจจราจร เดินทางไปพบผู้ แจ้ง หรือถึงที่เกิด เหตุ
3. การอ านวยความ สะดวกด้านการ เปรียบเทียบปรับจราจร1. เจ้าหน้าที่ต ารวจจราจรจับกุม ออกใบสั่ง และ เรียบเก็บใบอนุญาตขับชี่แล้วน า ใบอนุญาตขับขี่ที่เรียกเก็บส่งให้เจ้าหน้าที่ เปรียบเทียบปรับ 2. ช่วงเวลาที่มีการจัดเจ้าหน้าที่ไว้ท าการ เปรียบเทียบปรับคดีประจ าสถานี 3. น าใบสั่งไปพบพนักงานสอบสวนเพื่อ ก าหนดอัตราค่าเปรียบเทียบปรับช าระ ค่าปรับและรับใบอนุญาตขับขี่คืน-ภายใน 1 ชั่วโมง – สามารถช าระค่าปรับได้ทุกวันตลอด 24  ชั่วโมงไม่เว้นวันหยุดราชการ – สามารถช าระค่าปรับออนไลน์  ผ่านมือถือแอฟพิเคชั่นของธนาคารกรุงไทย  และธนาคารกรุงไทย
4. การขออ านวยความสะดวกด้าน การจราจร ทั่วไป1. พบเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อหรือยื่นหนังสือ 2. พิจารณาด าเนินการแจ้งผลให้ทราบ 3. พิจารณาเสนอหน่วยเหนือสั่งการแล้วแจ้ง ผล ให้ทราบภายใน 1 วันท าการ(กรณีสถานีต ารวจ ด าเนินการเองได้) -ภายใน 2 วันท าการ(กรณีต้องประสานขอ ก าลังหรือประสานกับหน่วยงานอื่น)
5. การขออ านวยความสะดวกกรณี ต้องขอใช้ พื้นผิวจราจร1. พบเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อหรือยื่นหนังสือ 2. พิจารณาด าเนินการแจ้งผลให้ทราบ 3. พิจารณาเสนอหน่วยเหนือสั่งการแล้วแจ้ง ผล ให้ทราบภายใน 1 วันท าการ(กรณีสถานีต ารวจ ด าเนินการเองได้) -ภายใน 2 วันท าการ(กรณีต้องประสานขอ ก าลังหรือประสานกับหน่วยงานอื่น)
6. การขออ านวยความ สะดวกด้าน การจราจร กรณีจะต้องออกค าสั่ง  หรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจราจร1. พบเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อหรือยื่นหนังสือ 2. หัวหน้าสถานีพิจารณามีความเห็นเสนอ 3. ส่งเรื่องไปยังกองบังคับการ และ กองบัญชาการเพื่อพิจารณาภายใน 15 วันท าการ

คู่มือการให้บริการประชาชน งานป้องกันปราบปราม

ประเภทของงาน ขั้นตอนการปฏิบัติ พันธะสัญญา ภายใต้กรอบ
1.บริหารงานสายตรวจ องค์ประกอบในการบริหารงานสาย ตรวจประกอบด้วย – ห้องปฏิบัติการสายตรวจ – ข้อมูลในการวางแผนป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรม – เครื่องมือสื่อสาร – แผนเผชิญเหตุ – แผนที่สถานภาพอาชญากรรม – ต ารวจสายตรวจที่ผ่านการฝึกอบรม มาเป็นอย่างดี – ความร่วมมือจากรประชาชนในการให้ข้อมูลข่าวสาร – ผู้บังคับบัญชาอ านวยการในพื้นที่สถานีต ารวจต้องมี องค์ประกอบในการบริหารงาน ป้องกันปราบปรามอย่าง ครบถ้วน– ตามสถานภาพ ความ พร้อมของแต่ ละสถานี – ตามแนวทางการ  ปฏิบัติงานที่ ส านักงาน ต ารวจ แห่งชาติก าหนด
2. ความพร้อมในการ  ป้องกันปราบปราม– การแบ่งเขตตรวจ – การจัดประเภทสายตรวจ – การประกอบก าลังออกปฏิบัติงานสถานีต ารวจมีความพร้อมใน การป้องกันปราบปรามและ ให้บริการประชาชน ตลอด 24 ชั่วโมง– ขนาดของพื้นที่ – ก าลังฝ่ายป้องกัน  ปราบปรามของสถานี – ความเหมาะสมต่อ  สถานภาพ อาชญากรรมใน  พื้นที่
3. การระงับเหตุ/ให้บริการ – เมื่อมีการแจ้งเหตุหรือขอรับบริการ ต ารวจ สายตรวจในพื้นที่ต้องรีบ เดินทางไประงับเหตุ และให้บริการเจ้าหน้าที่ต ารวจไประงับเหตุ ภายในเวลาที่ก าหนด– ในเขตเทศบาล  ภายใน 5 นาที – นอกเขตเทศบาล  ภายใน 10 นาที – พื้นที่ห่างไกล  ภายใน 20 นาที
4. การควบคุมผู้ต้องหา – การควบคุมผู้ต้องหา/ผู้ต้องกักขัง ภายใน ห้องควบคุมของสถานีผู้ต้องหา/ผู้ต้องกักขัง จะได้รับ การควบคุม อย่างปลอดภัย ใน ห้องควบคุมที่สะอาด เหมาะสม– สิทธิตามกฎหมาย  รัฐธรรมนูญ
5. การรับโทรศัพท์แจ้งเหตุ  ของสถานีต ารวจ– ผู้แจ้งโทรศัพท์แจ้งเหตุมายังสถานี ต ารวจ – เจ้าหน้าที่รับโทรศัพท์รับข้อมูล

คู่มือการให้บริการประชาชน งานสอบสวน

ประเภทของงาน ขั้นตอนการปฏิบัติ พันธะสัญญา ภายใต้กรอบ
1. การแจ้งเอกสารหาย 1. พบเจ้าหน้าที่ประจ าวันเขียนบันทึก ประจ าวันเอกสารหาย 2. พนักงานสอบสวนลงนามในบันทึก ประจ าวัน 3. เจ้าหน้าที่ประจ าวันมอบส าเนาบันทึก ประจ าวันให้ผู้แจ้งภายใน 10 นาที นับแต่เวลาที่เจ้าหน้าที่รับ เรื่อง
2. การเปรียบเทียบปรับตามใบสั่ง 1. น าใบสั่งไปพบพนักงานสอบสวนเพื่อ ก าหนดอัตราเปรียบเทียบปรับ 2. ช าระค่าปรับที่เจ้าหน้าทีเปรียบเทียบ ปรับ รับใบเสร็จและใบอนุญาตขับขี่ภายใน 5 นาที นับแต่เวลาที่ เจ้าหน้าที่รับเรื่อง
3. การขอส าเนาบันทึกประจ าวัน เกี่ยวกับคดี1. ยื่นค าร้องขอคัดส าเนาประจ าวันต่อ พนักงานสอบสวน 2. หัวหน้าพนักงานสอบสวนมีความเห็น อนุญาต 3. เจ้าหน้าทีประจ าวันน าส าเนาบันทึก ประจ าวันให้ นายต ารวจสัญญาบัตร รับรองส าเนาถูกต้องมอบให้กับผู้รับ แจ้งภายใน 20 นาที
4. การแจ้งความร้องทุกข์ 1. ประชาชนผู้ยื่นค าขอ 2. พบพนักงานสอบสวนเพื่อสอบถาม รายละเอียดข้อเท็จจริง/สอบปากค า  40 นาที 3. เจ้าหน้าที่เสมียนเวรประจ าวันคดีลง บันทึกภายใน 1 ชั่วโมง
5.การแจ้งความเป็นหลักฐาน กรณีที่ไม่เกี่ยวกับคดี1. พนักงานสอบสวนซักถาม รายละเอียดข้อเท็จจริง และตรวจสอบ หลักฐาน เอกสารที่ เกี่ยวข้อง อธิบาย ข้อกฎหมาย  2. ลงบันทึกประจ าวันภายใน 1 ชั่วโมง
6. การขอประกันตัวผู้ต้องหา 1. ผู้ต้องหาหรือผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้อง น าหลักประกันยื่นค าร้องขอปล่อย ชั่วคราวต่อพนักงานสอบสวนหรือเจ้า พนักงานต ารวจ ภายใน 1 ชั่วโมง นับแต่ เวลาที่ยื่นค าร้องต่อ พนักงานสอบสวน หรือเจ้าพนักงานต ารวจ  2. พนักงานสอบสวนตรวจสอบ หลักฐานถูกต้องครบถ้วน  3. บันทึกสัญญาประกัน และมีความเห็น ควรหรือไม่ควรอนุญาตให้ประกัน  4. ผู้มีอ านาจสั่งอนุญาต หรือไม่ อนุญาตให้ประกัน 5. ในกรณีที่อนุญาตให้ออกหลักฐานรับ หลักประกันและสัญญาประกันคู่ฉบับ  มอบให้นายประกัน  6. เจ้าหน้าที่เสมียนประจ าวันท าการ บันทึกประจ าวันเพื่อปล่อยตัวหรือไม่ ปล่อยตัว ผู้ต้องหา  กรณีมีเหตุจ าเป็นไม่อาจสั่งปล่อย ชั่วคราวได้ให้พิจารณาให้เสร็จสิ้น ภายใน 1 ชั่วโมง นับแต่เวลาที่ยื่นค าร้อง ขอปล่อยชั่วคราวภายใน 2 ชั่วโมง 1.พนักงานสอบสวนได้ท าการ สอบสวนพิมพ์ลายนิ้วมอื 2. หลักฐานเกี่ยวกับหลักประกัน ครบถ้วน 3. พนักงานสอบสวนเป็นผู้มี อ านาจวินิจฉัยค าร้องยกเว้น กรณีดังต่อไปนี้ 3.1 คดีความผิดเกี่ยวกับ พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัช ทายาท หรือผู้ส าเร็จราชการ แทนพระองค์ 3.2 คดีความผิดเกี่ยวกับ ความมั่นคงของรัฐภายใน ราชอาณาจักร

คู่มือการให้บริการประชาชน งานสืบสวน

ประเภทของงาน ขั้นตอนการปฏิบัติ พันธะสัญญา ภายใต้กรอบ
1.ตรวจสอบประวัติและความประพฤติ ของบุคคลเกี่ยวกับการขอมีใช้พกพา อาวุธปืน-ตรวจสอบประวัติบุคคล -สืบสวนพฤติกรรมบุคคล -นำเสนอ บก.ท.ภายใน 3 วัน
2.ขอสัญชาติ -พบเจ้าหน้าที่ -สืบสวนพยานใกล้เคียง -ตรวจสอบความประพฤติการกระทำความผิด -รายงานผลกับสันติบาลภายใน 15 วัน
3. ตรวจสอบรับรองความประพฤติ บุคคลพ้นโทษหรือนักโทษ1. พบเจ้าหน้าที่ 2. เรียกบุคคลที่จะให้ที่พักมา สอบปากคำ 3. สอบปากคำเจ้าบ้าน 4. แจ้งหนังสือตอบกลับที่เรือนจำภายใน 7 วัน

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *